สรุปผลการเรียนรู้
รายวิชา ARTD3302 Graphic Design on Packaging
การออกแบบกราฟิกบนบรรจุภัณฑ์
แปลสรุปข่าว
1. การออกแบบ Eco Coke สามรถประหยัดพื้นที่ในการวางและจับแล้วจะไม่เกิดรอย ใช้วัสดุที่เป็นกระดาษ เมื่อใช้หมดแล้วก็จะยุบตัวสลายไปเอง ได้รับแรงบันดาลใจการออกแบบจากธรรมชาติเพื่อให้เกิดความรู้สึกสบายใจ
2. SHIZEN เครื่องมือทำสวนภายในบ้านและชุดผลิตภัณฑ์เมล็ดพันธุ์ ออกแบบโดย อิน ยอน บี ที่นิวยอร์ก,สหรัฐอเมริกา SHIZEN เป็นรูปแบบใหม่ของการทำสวนในร่มได้แรงบันดาลใจหลักการสวนญี่ปุ่น เป็นการสร้งภูมิทัศน์ขนาดเล็กขนาดเล็ก บรรจุภัณฑ์ประกอบด้วยเมล็ดสมุนไพร 5อย่าง ได้แก่ โรสแมรี่,สาระแหน่,ผักชีฝรั่ง,โหรพาและใบโหรพาฝรั่ง มีเครื่องมือ 5ชิ้น ได้แก่ มีดตัดกิ่ง,กรรไกรตัดเล็ม,คราดและพลั่ว มีดินสองประเภทคือดินทรายและดินเหนียว ใช้ในการปลูกต้นไม้ประเภทจำพวกสน SHIZEN มีรูปแบบบรรจุภัณฑ์ชุดสวนในเมือที่ไม่ซ้ำกัน จะรวมผลิตภัณฑ์ทั้งหมดในชิ้นเดียว บรรจุภัณฑ์จะเปิดในส่วนด้านบนผู้บิโภคสามารถดูภาพการนำเสนอได้ซึ่งเป็นรูปร่างต้นไม้และรูปดอกไม้ ผลิตภัณฑ์ทั้งหมดมีประสิทธิภาพและเป็นเอกลักษณ์ กราฟิกและการสร้างแบรนด์มาจากสวนญี่ปุ่นใช้วิวทิวทัศน์จากธรรมชาติมาเป็นองค์ประกอบของโลโก้และการฟิกบนบรรจุภัณฑ์เป็นภาพวาดทรายของสวนญี่ปุ่นแบบดั้งเดิมภาพประกอบทั้งหมดจะวาดด้วยมือ
3. การออกแบบบรรจุภัณฑ์แบบยั่งยืน KHAOHOM สามารถช่วยเก็บความร้อนได้ตลอดวัน ใช้ลายประจำยามมาออกแบบเป็นโลโก้ในการออกแบบ
งานของวันที่13 ตุลาคม 2557 ให้ทุกคนจัดแสดงผลงานเวลา 9.30น. ทำมู๊ดบอร์ดขนาด 20X30นิ้ว เต็มไซด์พร้อมขาตั้งให้ครบขบวนการส.1-ส.3 มี3ดีไซด์ที่แตกต่างกัน จัดวางของให้หลากหลาย การนำเสนอรูปร่าง,รูปทรงแบบ3DจะมีการสอบGoogle Sketch Up ในสัปดาห์ถัดไป
เว็บบลอกแสดงผลการเรียนรู้รายวิชาARTD3302การออกแบบกราฟิกบนบรรจุภัณฑ์ โดย คัดคณา อายุสุข รหัส 5511302548
วันจันทร์ที่ 29 กันยายน พ.ศ. 2557
วันอาทิตย์ที่ 28 กันยายน พ.ศ. 2557
แปลสรุปข่าว
Designer: In-young Bae
Location: NY, USA
Indoor gardening tools and seeds set packaging
เครื่องมือทำสวนภายในบ้านและชุดผลิตภัณฑ์เมล็ดพันธุ์
SHIZEN is new style of indoor gardening system inspired by the principle of Japanese gardens, which is “Creating miniature idealized landscapes. ”The product includes 5 types of herbs seeds (Rosemary, Sage, Parsley, Thyme and Basil), 5 tools (Pruner, Snips, Rake, Trowel and Shovel), 2 types of soil (Sand and Clay) and Hinoki wood plant pot panels, which allow consumer to make customized plant pots.
Shizen เป็นรูปแบบใหม่ของระบบการทำสวนในร่มแรงบันดาลใจจากหลักการของสวนญี่ปุ่นซึ่งเป็น "การสร้างภูมิทัศน์ขนาดเล็กแบบเงียบสงบ "ผลิตภัณฑ์ที่มี 5 ประเภทของเมล็ดสมุนไพร
(โรสแมรี่,สาระแหน่ , ผักชีฝรั่ง, โหระพาและใบโหระพา), 5 เครื่องมือ (มีดตัดเล็มกิ่งไม้ ,
กรรไกรตัดเล็ม, คราด, เสียมและพลั่ว), 2 ประเภทของดิน (ทรายและดินเหนียว) และการติดตั้งกระถางไม้ Hinoki(ฮิโนกิก็คือไซเพรสไม้สีอ่อนของญี่ปุ่นซึ่งเป็นต้นไม้จำพวกสนชนิดหนึ่ง)ซึ่งจะช่วยให้ผู้บริโภคกำหนดกระถางต้นไม้ได้เอง
SHIZEN urban gardening set has a unique packaging form to include all products at once for consumers. While opening the packaging consumers can see the blooming image presents by the packaging and each individual smaller pack also creates flower or plants shapes on the top when they are combined. This modular system allows the packaging design includes all products in a effective and unique way, and provides a wonderful visual experience for consumers. The graphic and branding is base on the basic principles of Japanese garden, which are Miniaturization, Concealment and "Borrowed" Scenery from nature. The logo and graphic elements on packaging are derived from the sand drawing image of Japanese traditional garden. All illustrations are hand-drawn.
Shizen ชุดสวนในเมืองมีรูปแบบบรรจุภัณฑ์ที่ไม่ซ้ำกันที่จะรวมผลิตภัณฑ์ทั้งหมดในครั้งเดียวสำหรับผู้บริโภค ในขณะที่เปิดบรรจุภัณฑ์ที่ผู้บริโภคสามารถดูภาพการนำเสนอของกล่องด้านบนกำลังเบิกบานจากบรรจุภัณฑ์และแพ็คขนาดเล็กแต่ละคนยังสร้างดอกไม้หรือรูปทรงพืชด้านบนเมื่อพวกเขาจะรวมกันนี้ระบบ modular (วัสดุสำเร็จรูปที่ทำจากโรงงานแล้วนำมาประกอบที่หน้างาน)ช่วยให้การออกแบบบรรจุภัณฑ์รวมถึง ผลิตภัณฑ์ทั้งหมดในวิธีที่มีประสิทธิภาพและเป็นเอกลักษณ์และให้ประสบการณ์ด้านภาพที่ยอดเยี่ยมสำหรับผู้บริโภค กราฟิกและการสร้างแบรนด์เป็นฐานในหลักการพื้นฐานของสวนญี่ปุ่นที่มีขนาดเล็กลง, คอนซีลและ"ยืม"วิวทิวทัศน์จากธรรมชาติองค์ประกอบโลโก้และกราฟิกบนบรรจุภัณฑ์ที่จะได้มาจากภาพวาดทรายของสวนญี่ปุ่นแบบดั้งเดิม ภาพประกอบทั้งหมดจะถูกวาดด้วยมือ
แปลโดย : Google
ขอขอบคุณแหล่งข้อมูลจาก : http://www.packagingoftheworld.com/2014/08/shizen.html?m=1
วันจันทร์ที่ 22 กันยายน พ.ศ. 2557
สรุปผลการเรียนรู้สัปดาห์ที่6 วันที่ 22 กันยายน 2557
สรุปผลการเรียนรู้
รายวิชา ARTD3302 Graphic Design on Packaging
การออกแบบกราฟิกบนบรรจุภัณฑ์
โปรแกรมที่ใช้ทำบาร์โค้ดสามารถค้าหาได้จากGoogieใส่คำว่าส่วนประกอบของบรรจุภัณฑ์หรือโหลดได่จาก Free Online Barcode Generator Inc.ใส่ขนาดใหญ่สุดพิมพ์ชื่อใส่ในช่องเป็นชื่อของตัวเองเสร็จแล้วให้คลิ๊กขวาบันทึกภาพเป็น bmp แล้วตั้งชื่อ การทำบาร์โค้ดต้องทำให้มีระยะห่าง2มิลลิเมตรโดยรอบเพื่อไม่ให้เกิดข้อผิดพลาดในการทำงาน
แปลสรุปข่าว
1.การสร้างบรรจุภัณฑ์ SAVE PASTE
2.การออกแบบบรรจุภัณฑ์ที่สามารถส้างรูปแบบให้มีความสะดุดตา สามารถหยิบใช้ได้สะดวก เป็นของรัฐเซีย ใส่ลายกราฟิกเป็นแผนที่,ตำแหน่งของเมือเพื่อสื่อถึงการใช้ชีวิตในเมืองแบบเร่งด่วน
3.สินค้าของแบรนด์ EDEN ออกแบบโลโก้ให้ตัวEกลับหัวซึ่งให้ความหมายการออกแบบบรรจุภัณฑ์ทั้งหมด3แบบ ตัวสินค้าเป็นสีขาว มีลายกราฟิกเป็นสีดำเป็นการสร้างเรื่องราวมาให้มีจุดขาย
รายวิชา ARTD3302 Graphic Design on Packaging
การออกแบบกราฟิกบนบรรจุภัณฑ์
โปรแกรมที่ใช้ทำบาร์โค้ดสามารถค้าหาได้จากGoogieใส่คำว่าส่วนประกอบของบรรจุภัณฑ์หรือโหลดได่จาก Free Online Barcode Generator Inc.ใส่ขนาดใหญ่สุดพิมพ์ชื่อใส่ในช่องเป็นชื่อของตัวเองเสร็จแล้วให้คลิ๊กขวาบันทึกภาพเป็น bmp แล้วตั้งชื่อ การทำบาร์โค้ดต้องทำให้มีระยะห่าง2มิลลิเมตรโดยรอบเพื่อไม่ให้เกิดข้อผิดพลาดในการทำงาน
แปลสรุปข่าว
1.การสร้างบรรจุภัณฑ์ SAVE PASTE
2.การออกแบบบรรจุภัณฑ์ที่สามารถส้างรูปแบบให้มีความสะดุดตา สามารถหยิบใช้ได้สะดวก เป็นของรัฐเซีย ใส่ลายกราฟิกเป็นแผนที่,ตำแหน่งของเมือเพื่อสื่อถึงการใช้ชีวิตในเมืองแบบเร่งด่วน
3.สินค้าของแบรนด์ EDEN ออกแบบโลโก้ให้ตัวEกลับหัวซึ่งให้ความหมายการออกแบบบรรจุภัณฑ์ทั้งหมด3แบบ ตัวสินค้าเป็นสีขาว มีลายกราฟิกเป็นสีดำเป็นการสร้างเรื่องราวมาให้มีจุดขาย
วันจันทร์ที่ 15 กันยายน พ.ศ. 2557
barcode
บาร์โค้ด (Barcode)
บาร์ โค้ด หมายถึง เลขหมายประจำตัวสินค้า ใช้แทนด้วยแท่งบาร์ขาว-ดำ เรียงเข้าด้วยกัน และประกอบด้วยตัวเลข8-13หลักสามารถอ่านได้ด้วยเครื่องสแกนเนอร์โดยอาศัยหลักของการ
สะท้อนแสงนิยมใชักับสินค้าอุปโภคบริโภคแทบทุกชนิดและสินค้าสำเร็จรูปต่างๆการออกเลขหมาย
ให้กับสินค้าแต่ละตัวจะช่วยให้การติดต่อกันระหว่างผู้ค้า (ผู้ผลิต ผู้ค้าส่ง ผู้จัดจำหน่ายและผู้ค้าปลีก) สามารถทำงานได้ราบรื่นขึ้นเปรียบได้กับบัตรประจำตัวประชาชนที่เป็นเครื่องชี้บอกถึงความ
แตกต่างกันของแต่ละคนเลขหมายประจำตัวสินค้าก็เป็นเครื่องชี้บอกถึงความแตกต่างของสินค้า
ชนิดนั้นกับสินค้าอื่น ๆสินค้าทุกชนิดที่มีความแตกต่างกันไม่ว่าจะเป็น ขนาด สี จำนวนบรรจุ จะมีเลขหมายประจำตัวสินค้าต่างกันตัวอย่างเช่นไอศกรีมรสวนิลาจะมีเลขหมายประจำตัวคนละ
เลขหมายต่างจากไอศกรีมรสช็อกโกแล็ตหรือในกรณีกล่องใหญ่ที่บรรจุถ้วย12ใบจะมีเลขหมาย
ประจำตัวแตกต่างจากถ้วย 1 ใบ
บาร์โค้ดช่วยอะไรได้บ้าง
การนำบาร์โค้ดมาใช้ในธุรกิจการค้าจะมีคุณประโยชน์หลายประการ คือ
ลดขั้นตอนและประหยัดเวลาการทำงาน การซื้อ-ขาย สินค้าจะมีความสะดวกรวดเร็วมากขึ้น โดยเฉพาะการรับชำระเงิน การออกใบเสร็จ การตัดสินค้าคงคลัง
ง่ายต่อระบบสินค้าคงคลังคอมพิวเตอร์ซึ่งเชื่อมกับเครื่องสแกนเนอร์จะตัดยอดสินค้าโดยอัตโนมัติ จึงสามารถให้ข้อมูลเกี่ยวกับการหมุนเวียนสินค้า สินค้ารายการใดจำหน่ายได้ดีหรือไม่ มีสินค้าเหลือเท่าใด
ยกระดับมาตรฐานสินค้า การระบุแหล่งผลิตของประเทศแต่ละราย ทำให้ผู้ผลิตปรับปรุงคุณภาพเพื่อรักษาภาพพจน์ของสินค้าและสอดคล้องกับมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมเรื่องสัญลักษณ์ รหัสแท่งสำหรับแสดงข้อมูลสินค้า
สร้างศักยภาพเชิงแข่งขันในตลาดต่างประเทศ รหัสแท่งเป็นเครื่องบ่งชี้ถึงสินค้าที่มีคุณภาพดีเชื่อถือได้ การมีรหัสประจำตัวของแต่ละประเทศทำให้ผู้ที่สนใจซื้อสินค้าสามารถทราบถึงแหล่งผลิตและติดต่อซื้อ-ขายกันได้สะดวกโดยตรง เป็นการพัฒนาบรรจุภัณฑ์เพื่อการส่งออก
เพิ่มประสิทธิภาพการบริหาร ข้อมูลจากระบบรหัสแท่ง จะช่วยให้ผู้ประกอบธุรกิจสามารถตัดสินใจวางแผน และบริหารงานด้านการผลิต การจัดซื้อ และการตลาดได้อย่างรวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ
ใช้กับธุรกิจใดบ้าง
ด้านผู้ผลิต เลขหมายประจำตัวสินค้าก่อให้เกิดวิวัฒนาการด้านบรรจุภัณฑ์ ตามหลักการ "หีบห่อก่อผลกำไรงาม"เลขหมายประจำตัวของผู้ผลิตแต่ละรายจะมีส่วนช่วยบ่งบอกถึงคุณภาพ
ของสินค้าและแหล่งติดต่อของผู้ผลิตโอกาสทางการตลาดของผู้ผลิตจึงเปิดกว้างไปอีกมาก
สำหรับผู้ค้าส่งหรือผู้นำเข้าในต่างประเทศมีข้อมูลเกี่ยวกับผู้ผลิตหรือแหล่งผลิตที่จะสามารถ
จัดหาสินค้าได้สะดวกและกว้างขวางออกไปตลอดจนมีโอกาสซื้อสินค้าที่มีคุณภาพได้มาตรฐานรวมทั้งสามารถใช้ประโยชน์ด้านระบบข้อมูลเพื่อการบริหารงานโดยเฉพาะข้อมูลด้านการขายและสินค้าคงคลัง
กับระบบการค้าปลีก โดยเฉพาะอย่างยิ่งการค้าปลีกขนาดใหญ่แบบ Supermarket หรือ Massmarket ระบบเลขหมายประจำตัวสินค้าและสัญลักษณ์รหัสแท่งจะช่วยให้การคิดเงินและการ
เก็บเงินของพนักงานถูกต้องและรวดเร็วมากจึงสามารถบริการลูกค้าได้อย่างรวดเร็วนอกจากนี้
ยังไม่ต้องติดป้ายบอกราคาสินค้าซึ่งมีเป็นจำนวนมากบนสินค้าแต่ละชิ้นทำให้ลดปริมาณงานลง
และสะดวกต่อการปรับราคาขาย
สะดวก & แม่นยำ
ลักษณะการทำงานบาร์โค้ดจะถูกอ่านด้วยเครื่องสแกนเนอร์บันทึกข้อมูลเข้าไปเก็บใน
คอมพิวเตอร์โดยตรงไม่ต้องกดปุ่มที่แท่นพิมพ์โดยอาศัยหลักของการสะท้อนแสงทำให้มีความ
สะดวกรวดเร็วในการทำงานมากขึ้นเครื่องสแกนเนอร์มีชนิดต่างๆกันซึ่งสามารถทำงานได้อย่างมี
ประสิทธิภาพเมื่ออ่านบาร์โค้ดที่ได้รับการพิมพ์อย่างถูกต้องเครื่องสแกนเนอร์จะถูกต่อเข้ากับ
คอมพิวเตอร์กลางเพื่อทำหน้าที่เก็บข้อมูลทุกครั้งที่มีการซื้อเข้าและการขายออกได้อย่างถูกต้อง
แม่นยำ
ลักษณะสำคัญของบาร์โค้ด
บาร์โค้ดจะต้องมีความคมชัดของเส้นแต่ละเส้นไม่ขาดหายขนาดของบาร์โค้ดจะมีขนาด
มาตรฐานของแต่ละระบบอยู่แล้ว โดยสามารถย่อลงได้มากสุด 20% พื้นที่ด้านข้างของตัวบาร์โค้ด (Quiet Zone) จะต้องมีเนื้อที่ 10 เท่าของแท่งรหัสที่เล็กที่สุด หรือมากกว่า 3.6 มิลลิเมตร มิฉะนั้นจะอ่านไม่ออก
สำหรับสีที่เลือกใช้ โดยทั่วไปสีดีที่สุดคือตัวบาร์โค้ดสีดำบนพื้นที่สีขาว ซึ่งทำให้อ่านง่าย เนื่องจากเครื่องอ่านอาศัยหลักการสะท้อนแสงของเส้นทึบและพื้นสว่างถ้าใช้คู่สีผิดอาจทำให้อ่านไม่ออก ควรหลีกเลี่ยงการใช้สีสะท้อนแสงในการพิมพ์แท่งรหัสสินค้าและพื้นที่ว่างด้านหลังแท่งรหัส เพราะสีสะท้อนแสงจะสะท้อนแสงใส่เครื่องอ่านทำให้อ่านยากหรืออ่านไม่ได้เลย
ระบบของบาร์โค้ด
การติดบาร์โค้ดของสินค้านั้นๆโดยเฉพาะนอกจากจะคำนึงถึงความสะดวกรวดเร็วในการ
ทำงานขึ้นแล้วยังจะต้องคำนึงถึงการใช้มาตรฐานการกำหนดเลขหมายที่ได้รับการยอมรับจาก
ทั่วโลกอีกด้วย
ปัจจุบันมาตรฐานที่นิยมใช้กันอย่างแพร่หลายทั่วโลก มีประมาณ 11 ระบบ
UPC [Uniform Product Code] ใช้เมื่อปี พ.ศ. -2515 ในประเทศสหรัฐอเมริกาและแคนาดา แบ่งออกเป็น 4 ประเภท
1.1 แบบย่อมี 8 หลัก หรือเรียก UPC-E ใช้กับสินค้าที่มีข้อมูลน้อย
1.2 แบบมาตรฐานมี 12 หลัก หรือเรียก UPC-A ซึ่งเป็นแบบที่นิยมใช้อยู่ทั่วไป
1.3 แบบเพิ่มตัวเลข 2 หลัก หรือเรียก UPC-A+2 ในกรณีที่ UPC-A เก็บข้อมูลไม่พอ
1.4 แบบเพิ่มตัวเลข 5 หลัก หรือเรียก UPC-A+5 เพื่อเพิ่มข้อมูลให้มากขึ้น
EAN [European Article Number] เริ่มใช้เมื่อปี พ.ศ.- 2519 แบ่งออกเป็น 4 ประเภท ดังนี้
2.1 แบบย่อมี 8 หลัก หรือเรียก EAN-8 ใช้กับธุรกิจเล็ก มีข้อมูลไม่มาก
2.2 แบบมาตรฐานมี 13 หลัก หรือเรียก EAN-13
2.3 แบบเพิ่มตัวเลข 2 หลัก หรือเรียก EAN-13+12 เพื่อเพิ่มข้อมูล ถ้า EAN-13
บรรจุข้อมูลไม่หมด
2.4 แบบเพิ่มตัวเลข 5 หลัก หรือเรียก EAN-13+5 เพื่อเพิ่มข้อมูลให้มากขึ้น
CODE39 เริ่มใช้ในปพ.ศ.-2517ในธุรกิจอุตสาหกรรมเป็นบาร์โค้ดระบบแรกที่ใช้รวมกับ ตัวอักษรได้ เก็บข้อมูลได้มาก
INTERLEAVE 1 of 5 หรือเรียกว่า ITF เป็นบาร์โค้ดตัวใหญ่ใช้กับหีบบรรจุสินค้า
หรือเรียก Cass Code
CODABAR ถูกพัฒนาขึ้นมาใช้กับธุรกิจเวชภัณฑ์ ในปี พ.ศ.-2515
CODE 128 ได้ถูกพัฒนาขึ้นและยอมรับว่าได้ใช้เป็นทางการในสหรัฐอเมริกาเมื่อปี พ.ศ. 2524 นิยมใช้ในวงการดีไซเนอร์และแฟชั่น ปัจจุบันกำลังเริ่มนิยมใช้ในสหรัฐอเมริกา
CODE 93 ได้เริ่มพัฒนาขึ้นในปี พ.ศ.- 2525 ปัจจุบันเริ่มนิยมใช้ในวงการอุตสาหกรรม
CODE 49 ได้เริ่มพัฒนาขึ้นในปี พ.ศ. 2530 โดยพัฒนาจาก CODE 39 ให้บรรจุข้อมูลได้มากขึ้น ในพื้นที่เท่าเดิม
CODE16k เหมาะสำหรับใช้กับอุตสาหกรรมผลิตสินค้าที่เล็กมากมีพื้นที่ในการใสบาร์โค้ด น้อย เช่น อุปกรณ์อะไหล่ เครื่องไฟฟ้า
ISSN / ISBN [International Standard Book Number] ใช้กับหนังสือ และนิตยสาร
EAN / UCC 128 หรือ Shipping Container Code เป็นระบบใหม่ โดยการร่วมมือระหว่าง EAN ของยุโรป และ UCC ของสหรัฐอเมริกา โดยเอาระบบ EAN มาใช้ร่วมกับ CODE 128 เพื่อบอกรายละเอียดของสินค้ามากขึ้น เช่น วันเดือนปีที่ผลิต ครั้งที่ผลิต วันที่สั่งซื้อ มีกี่สี กี่ขนาด เป็นต้น
EAN ยอดฮิต
ปัจจุบันมาตรฐานที่ยอมรับกันมากมีอยู่ 2 ระบบ คือ UPC และ EAN ระบบ UPC ถือเป็นบาร์โค้ดระบบแรกของโลก ใช้ในประเทศสหรัฐอเมริกาและแคนาดาเท่านั้น มีหน่วยงาน Uniform Code Council [UCC] ตั้งอยู่ที่รัฐ OHIO ประเทศสหรัฐอเมริกาทำหน้าที่ดูแล
ส่วนระบบ EAN เป็นมาตรฐานที่ได้รับการยอมรับมากที่สุดในโลก โดยมีประเทศต่าง ๆ ใช้กว่า60ประเทศในภาคพื้นยุโรป,เอเชียและแปซิฟิกรวมทั้งประเทศไทยEANมีสำนักงานใหญ่อยู่ที่กรุงบรัสเซล ประเทศเบลเยี่ยม สำหรับบาร์โค้ดในประเทศไทยเริ่มนำมาใช้อย่างจริงจังในปี
พ.ศ.- 2536 โดยมีสถาบันสัญลักษณ์รหัสแท่งไทย [Thai Article Numbering Council] หรือ "TANC" เป็นองค์กรตัวแทนของ EAN ภายใต้การดูแลของสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย
ประเทศไทยเลือกใช้ระบบ EAN-13 ซึ่งมีลักษณะเฉพาะของเลขชุด 13 หลัก มีความหมายดังนี้
885 - 3 หลักแรก คือรหัสของประเทศไทย
1234 - 4 ตัวถัดมา เป็นรหัสโรงงานที่ผลิต
56789 - 5 ตัวถัดมา เป็นรหัสของสินค้า
8 - ตัวเลขหลักสุดท้ายเป็นตัวเลขตรวจสอบ เลข 12 ข้างหน้าว่ากำหนดถูกต้องหรือไม่ ถ้าตัวสุดท้ายผิดบาร์โค้ดตัวนั้นจะอ่านไม่ออก สื่อความหมายไม่ได้
การขอมีรหัสบาร์โค้ด
การขอมีรหัสบาร์โค้ดสามารถยื่นขอได้ที่ TANC เพียงแห่งเดียวเท่านั้น โดยนำหลักฐานดังนี้ไปแสดงด้วย
บุคคลธรรมดา
1.สำเนาบัตรประชาชน
2.สำเนาทะเบียนบ้าน
3.สำเนาบัตรประจำตัวผู้เสียภาษี
4.สำเนาใบ ภ.ง.ด.90,91 หรือสำเนาใบเสร็จชำระภาษี
5.ใบสมัครสมาชิกของสถาบันฯ
ร้านค้า
1.สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน
2.สำเนาทะเบียนบ้าน
3.สำเนาใบทะเบียนพาณิชย์
4.สำเนาบัตรประจำตัวผู้เสียภาษี
5.สำเนาใบภ.ง.ด.90,91 หรือ สำเนาใบเสร็จชำระภาษี
6.ใบสมัครสมาชิกของสถาบันฯ
บริษัท / ห้างหุ้นส่วนจำกัด
1.สำเนาหนังสือรับรองการจดทะเบียนบริษัท
2.สำเนาใบสำคัญแสดงการจดทะเบียนบริษัท หรือใบทะเบียนการค้า
3.สำเนาหนังสือจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม (ภพ.20,ภพ.01 หรือ ภพ.09)
4.สำเนางบกำไรขาดทุนของปีที่ผ่านมา
5.ใบสมัครสมาชิกของสถาบันฯ
ที่มา: สถาบันรหัสสากล สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย
ขอขอบคุณแหล่งข้อมูลจาก: http://www.pen1.biz/TipBarcode.html
http://dynamicstatements.com/images/barcodes.jpg
บาร์ โค้ด หมายถึง เลขหมายประจำตัวสินค้า ใช้แทนด้วยแท่งบาร์ขาว-ดำ เรียงเข้าด้วยกัน และประกอบด้วยตัวเลข8-13หลักสามารถอ่านได้ด้วยเครื่องสแกนเนอร์โดยอาศัยหลักของการ
สะท้อนแสงนิยมใชักับสินค้าอุปโภคบริโภคแทบทุกชนิดและสินค้าสำเร็จรูปต่างๆการออกเลขหมาย
ให้กับสินค้าแต่ละตัวจะช่วยให้การติดต่อกันระหว่างผู้ค้า (ผู้ผลิต ผู้ค้าส่ง ผู้จัดจำหน่ายและผู้ค้าปลีก) สามารถทำงานได้ราบรื่นขึ้นเปรียบได้กับบัตรประจำตัวประชาชนที่เป็นเครื่องชี้บอกถึงความ
แตกต่างกันของแต่ละคนเลขหมายประจำตัวสินค้าก็เป็นเครื่องชี้บอกถึงความแตกต่างของสินค้า
ชนิดนั้นกับสินค้าอื่น ๆสินค้าทุกชนิดที่มีความแตกต่างกันไม่ว่าจะเป็น ขนาด สี จำนวนบรรจุ จะมีเลขหมายประจำตัวสินค้าต่างกันตัวอย่างเช่นไอศกรีมรสวนิลาจะมีเลขหมายประจำตัวคนละ
เลขหมายต่างจากไอศกรีมรสช็อกโกแล็ตหรือในกรณีกล่องใหญ่ที่บรรจุถ้วย12ใบจะมีเลขหมาย
ประจำตัวแตกต่างจากถ้วย 1 ใบ
บาร์โค้ดช่วยอะไรได้บ้าง
การนำบาร์โค้ดมาใช้ในธุรกิจการค้าจะมีคุณประโยชน์หลายประการ คือ
ลดขั้นตอนและประหยัดเวลาการทำงาน การซื้อ-ขาย สินค้าจะมีความสะดวกรวดเร็วมากขึ้น โดยเฉพาะการรับชำระเงิน การออกใบเสร็จ การตัดสินค้าคงคลัง
ง่ายต่อระบบสินค้าคงคลังคอมพิวเตอร์ซึ่งเชื่อมกับเครื่องสแกนเนอร์จะตัดยอดสินค้าโดยอัตโนมัติ จึงสามารถให้ข้อมูลเกี่ยวกับการหมุนเวียนสินค้า สินค้ารายการใดจำหน่ายได้ดีหรือไม่ มีสินค้าเหลือเท่าใด
ยกระดับมาตรฐานสินค้า การระบุแหล่งผลิตของประเทศแต่ละราย ทำให้ผู้ผลิตปรับปรุงคุณภาพเพื่อรักษาภาพพจน์ของสินค้าและสอดคล้องกับมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมเรื่องสัญลักษณ์ รหัสแท่งสำหรับแสดงข้อมูลสินค้า
สร้างศักยภาพเชิงแข่งขันในตลาดต่างประเทศ รหัสแท่งเป็นเครื่องบ่งชี้ถึงสินค้าที่มีคุณภาพดีเชื่อถือได้ การมีรหัสประจำตัวของแต่ละประเทศทำให้ผู้ที่สนใจซื้อสินค้าสามารถทราบถึงแหล่งผลิตและติดต่อซื้อ-ขายกันได้สะดวกโดยตรง เป็นการพัฒนาบรรจุภัณฑ์เพื่อการส่งออก
เพิ่มประสิทธิภาพการบริหาร ข้อมูลจากระบบรหัสแท่ง จะช่วยให้ผู้ประกอบธุรกิจสามารถตัดสินใจวางแผน และบริหารงานด้านการผลิต การจัดซื้อ และการตลาดได้อย่างรวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ
ใช้กับธุรกิจใดบ้าง
ด้านผู้ผลิต เลขหมายประจำตัวสินค้าก่อให้เกิดวิวัฒนาการด้านบรรจุภัณฑ์ ตามหลักการ "หีบห่อก่อผลกำไรงาม"เลขหมายประจำตัวของผู้ผลิตแต่ละรายจะมีส่วนช่วยบ่งบอกถึงคุณภาพ
ของสินค้าและแหล่งติดต่อของผู้ผลิตโอกาสทางการตลาดของผู้ผลิตจึงเปิดกว้างไปอีกมาก
สำหรับผู้ค้าส่งหรือผู้นำเข้าในต่างประเทศมีข้อมูลเกี่ยวกับผู้ผลิตหรือแหล่งผลิตที่จะสามารถ
จัดหาสินค้าได้สะดวกและกว้างขวางออกไปตลอดจนมีโอกาสซื้อสินค้าที่มีคุณภาพได้มาตรฐานรวมทั้งสามารถใช้ประโยชน์ด้านระบบข้อมูลเพื่อการบริหารงานโดยเฉพาะข้อมูลด้านการขายและสินค้าคงคลัง
กับระบบการค้าปลีก โดยเฉพาะอย่างยิ่งการค้าปลีกขนาดใหญ่แบบ Supermarket หรือ Massmarket ระบบเลขหมายประจำตัวสินค้าและสัญลักษณ์รหัสแท่งจะช่วยให้การคิดเงินและการ
เก็บเงินของพนักงานถูกต้องและรวดเร็วมากจึงสามารถบริการลูกค้าได้อย่างรวดเร็วนอกจากนี้
ยังไม่ต้องติดป้ายบอกราคาสินค้าซึ่งมีเป็นจำนวนมากบนสินค้าแต่ละชิ้นทำให้ลดปริมาณงานลง
และสะดวกต่อการปรับราคาขาย
สะดวก & แม่นยำ
ลักษณะการทำงานบาร์โค้ดจะถูกอ่านด้วยเครื่องสแกนเนอร์บันทึกข้อมูลเข้าไปเก็บใน
คอมพิวเตอร์โดยตรงไม่ต้องกดปุ่มที่แท่นพิมพ์โดยอาศัยหลักของการสะท้อนแสงทำให้มีความ
สะดวกรวดเร็วในการทำงานมากขึ้นเครื่องสแกนเนอร์มีชนิดต่างๆกันซึ่งสามารถทำงานได้อย่างมี
ประสิทธิภาพเมื่ออ่านบาร์โค้ดที่ได้รับการพิมพ์อย่างถูกต้องเครื่องสแกนเนอร์จะถูกต่อเข้ากับ
คอมพิวเตอร์กลางเพื่อทำหน้าที่เก็บข้อมูลทุกครั้งที่มีการซื้อเข้าและการขายออกได้อย่างถูกต้อง
แม่นยำ
ลักษณะสำคัญของบาร์โค้ด
บาร์โค้ดจะต้องมีความคมชัดของเส้นแต่ละเส้นไม่ขาดหายขนาดของบาร์โค้ดจะมีขนาด
มาตรฐานของแต่ละระบบอยู่แล้ว โดยสามารถย่อลงได้มากสุด 20% พื้นที่ด้านข้างของตัวบาร์โค้ด (Quiet Zone) จะต้องมีเนื้อที่ 10 เท่าของแท่งรหัสที่เล็กที่สุด หรือมากกว่า 3.6 มิลลิเมตร มิฉะนั้นจะอ่านไม่ออก
สำหรับสีที่เลือกใช้ โดยทั่วไปสีดีที่สุดคือตัวบาร์โค้ดสีดำบนพื้นที่สีขาว ซึ่งทำให้อ่านง่าย เนื่องจากเครื่องอ่านอาศัยหลักการสะท้อนแสงของเส้นทึบและพื้นสว่างถ้าใช้คู่สีผิดอาจทำให้อ่านไม่ออก ควรหลีกเลี่ยงการใช้สีสะท้อนแสงในการพิมพ์แท่งรหัสสินค้าและพื้นที่ว่างด้านหลังแท่งรหัส เพราะสีสะท้อนแสงจะสะท้อนแสงใส่เครื่องอ่านทำให้อ่านยากหรืออ่านไม่ได้เลย
ระบบของบาร์โค้ด
การติดบาร์โค้ดของสินค้านั้นๆโดยเฉพาะนอกจากจะคำนึงถึงความสะดวกรวดเร็วในการ
ทำงานขึ้นแล้วยังจะต้องคำนึงถึงการใช้มาตรฐานการกำหนดเลขหมายที่ได้รับการยอมรับจาก
ทั่วโลกอีกด้วย
ปัจจุบันมาตรฐานที่นิยมใช้กันอย่างแพร่หลายทั่วโลก มีประมาณ 11 ระบบ
UPC [Uniform Product Code] ใช้เมื่อปี พ.ศ. -2515 ในประเทศสหรัฐอเมริกาและแคนาดา แบ่งออกเป็น 4 ประเภท
1.1 แบบย่อมี 8 หลัก หรือเรียก UPC-E ใช้กับสินค้าที่มีข้อมูลน้อย
1.2 แบบมาตรฐานมี 12 หลัก หรือเรียก UPC-A ซึ่งเป็นแบบที่นิยมใช้อยู่ทั่วไป
1.3 แบบเพิ่มตัวเลข 2 หลัก หรือเรียก UPC-A+2 ในกรณีที่ UPC-A เก็บข้อมูลไม่พอ
1.4 แบบเพิ่มตัวเลข 5 หลัก หรือเรียก UPC-A+5 เพื่อเพิ่มข้อมูลให้มากขึ้น
EAN [European Article Number] เริ่มใช้เมื่อปี พ.ศ.- 2519 แบ่งออกเป็น 4 ประเภท ดังนี้
2.1 แบบย่อมี 8 หลัก หรือเรียก EAN-8 ใช้กับธุรกิจเล็ก มีข้อมูลไม่มาก
2.2 แบบมาตรฐานมี 13 หลัก หรือเรียก EAN-13
2.3 แบบเพิ่มตัวเลข 2 หลัก หรือเรียก EAN-13+12 เพื่อเพิ่มข้อมูล ถ้า EAN-13
บรรจุข้อมูลไม่หมด
2.4 แบบเพิ่มตัวเลข 5 หลัก หรือเรียก EAN-13+5 เพื่อเพิ่มข้อมูลให้มากขึ้น
CODE39 เริ่มใช้ในปพ.ศ.-2517ในธุรกิจอุตสาหกรรมเป็นบาร์โค้ดระบบแรกที่ใช้รวมกับ ตัวอักษรได้ เก็บข้อมูลได้มาก
INTERLEAVE 1 of 5 หรือเรียกว่า ITF เป็นบาร์โค้ดตัวใหญ่ใช้กับหีบบรรจุสินค้า
หรือเรียก Cass Code
CODABAR ถูกพัฒนาขึ้นมาใช้กับธุรกิจเวชภัณฑ์ ในปี พ.ศ.-2515
CODE 128 ได้ถูกพัฒนาขึ้นและยอมรับว่าได้ใช้เป็นทางการในสหรัฐอเมริกาเมื่อปี พ.ศ. 2524 นิยมใช้ในวงการดีไซเนอร์และแฟชั่น ปัจจุบันกำลังเริ่มนิยมใช้ในสหรัฐอเมริกา
CODE 93 ได้เริ่มพัฒนาขึ้นในปี พ.ศ.- 2525 ปัจจุบันเริ่มนิยมใช้ในวงการอุตสาหกรรม
CODE 49 ได้เริ่มพัฒนาขึ้นในปี พ.ศ. 2530 โดยพัฒนาจาก CODE 39 ให้บรรจุข้อมูลได้มากขึ้น ในพื้นที่เท่าเดิม
CODE16k เหมาะสำหรับใช้กับอุตสาหกรรมผลิตสินค้าที่เล็กมากมีพื้นที่ในการใสบาร์โค้ด น้อย เช่น อุปกรณ์อะไหล่ เครื่องไฟฟ้า
ISSN / ISBN [International Standard Book Number] ใช้กับหนังสือ และนิตยสาร
EAN / UCC 128 หรือ Shipping Container Code เป็นระบบใหม่ โดยการร่วมมือระหว่าง EAN ของยุโรป และ UCC ของสหรัฐอเมริกา โดยเอาระบบ EAN มาใช้ร่วมกับ CODE 128 เพื่อบอกรายละเอียดของสินค้ามากขึ้น เช่น วันเดือนปีที่ผลิต ครั้งที่ผลิต วันที่สั่งซื้อ มีกี่สี กี่ขนาด เป็นต้น
ปัจจุบันมาตรฐานที่ยอมรับกันมากมีอยู่ 2 ระบบ คือ UPC และ EAN ระบบ UPC ถือเป็นบาร์โค้ดระบบแรกของโลก ใช้ในประเทศสหรัฐอเมริกาและแคนาดาเท่านั้น มีหน่วยงาน Uniform Code Council [UCC] ตั้งอยู่ที่รัฐ OHIO ประเทศสหรัฐอเมริกาทำหน้าที่ดูแล
ส่วนระบบ EAN เป็นมาตรฐานที่ได้รับการยอมรับมากที่สุดในโลก โดยมีประเทศต่าง ๆ ใช้กว่า60ประเทศในภาคพื้นยุโรป,เอเชียและแปซิฟิกรวมทั้งประเทศไทยEANมีสำนักงานใหญ่อยู่ที่กรุงบรัสเซล ประเทศเบลเยี่ยม สำหรับบาร์โค้ดในประเทศไทยเริ่มนำมาใช้อย่างจริงจังในปี
พ.ศ.- 2536 โดยมีสถาบันสัญลักษณ์รหัสแท่งไทย [Thai Article Numbering Council] หรือ "TANC" เป็นองค์กรตัวแทนของ EAN ภายใต้การดูแลของสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย
ประเทศไทยเลือกใช้ระบบ EAN-13 ซึ่งมีลักษณะเฉพาะของเลขชุด 13 หลัก มีความหมายดังนี้
885 - 3 หลักแรก คือรหัสของประเทศไทย
1234 - 4 ตัวถัดมา เป็นรหัสโรงงานที่ผลิต
56789 - 5 ตัวถัดมา เป็นรหัสของสินค้า
8 - ตัวเลขหลักสุดท้ายเป็นตัวเลขตรวจสอบ เลข 12 ข้างหน้าว่ากำหนดถูกต้องหรือไม่ ถ้าตัวสุดท้ายผิดบาร์โค้ดตัวนั้นจะอ่านไม่ออก สื่อความหมายไม่ได้
การขอมีรหัสบาร์โค้ด
การขอมีรหัสบาร์โค้ดสามารถยื่นขอได้ที่ TANC เพียงแห่งเดียวเท่านั้น โดยนำหลักฐานดังนี้ไปแสดงด้วย
บุคคลธรรมดา
1.สำเนาบัตรประชาชน
2.สำเนาทะเบียนบ้าน
3.สำเนาบัตรประจำตัวผู้เสียภาษี
4.สำเนาใบ ภ.ง.ด.90,91 หรือสำเนาใบเสร็จชำระภาษี
5.ใบสมัครสมาชิกของสถาบันฯ
ร้านค้า
1.สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน
2.สำเนาทะเบียนบ้าน
3.สำเนาใบทะเบียนพาณิชย์
4.สำเนาบัตรประจำตัวผู้เสียภาษี
5.สำเนาใบภ.ง.ด.90,91 หรือ สำเนาใบเสร็จชำระภาษี
6.ใบสมัครสมาชิกของสถาบันฯ
บริษัท / ห้างหุ้นส่วนจำกัด
1.สำเนาหนังสือรับรองการจดทะเบียนบริษัท
2.สำเนาใบสำคัญแสดงการจดทะเบียนบริษัท หรือใบทะเบียนการค้า
3.สำเนาหนังสือจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม (ภพ.20,ภพ.01 หรือ ภพ.09)
4.สำเนางบกำไรขาดทุนของปีที่ผ่านมา
5.ใบสมัครสมาชิกของสถาบันฯ
ที่มา: สถาบันรหัสสากล สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย
ขอขอบคุณแหล่งข้อมูลจาก: http://www.pen1.biz/TipBarcode.html
http://dynamicstatements.com/images/barcodes.jpg
สรุปผลการเรียนรู้สัปดาห์ที่5 วันที่ 15 กันยายน 2557
สรุปผลการเรียนรู้
รายวิชา ARTD3302 Graphic Design on Packaging
การออกแบบกราฟิกบนบรรจุภัณฑ์
แปลสรุปข่าว
1.รองเท้าบู๊ชการใช้งานคือการป้องกันภัยจากสัตว์น้ำที่เป็นอันตราย
2.เบียร์ผลไม้แบบใหม่ผลิตที่บราซิลโดยสร้างสรรค์มาจากตัวละครของผลไม้ แนวคิดคือสถานที่+ผลไม้+หน้าตาของตัวการ์ตูนตลก
3.ผลิตภัณฑ์แซนด์วิส ออกแบบโดยสื่อกราฟิกทั้งทางตรงและทางอ้อมสามารถหยิบใช้ได้สะดวก
การสร้างแบรนด์ของกลุ่มวิสาหกิจชุมชนต้องสร้างข้อมูลสรรพคุณ ลักษณะการขาย วิธีการ ประสบการณ์และถ่ายภาพมาดำเนินการวิเคราะห์และการสร้างหลักฐานสัดส่วนโครงสร้าง,ข้อผิดพลาด
การทำ SWOT
S คือ จุดแข็ง
W คือจุดอ่อน,อุปสรรค
O คือจุดเด่นของฉลาก
T คือข้อดีของสินค้า
หาฟ้อนต์ฟรีมาปรับรูปแบบเพิ่มเติมโดยใช้รายละเอียดจากconceptต้องมีเหตุผลและโครงสร้างผลิตภัณฑ์ แปลภาษาการใช้ การให้ข้อมูลที่ตรงเพื่อเป็นโจทย์ใช้ข้อมูลในการศึกษา เริ่มสร้างผลงานในArtworkหลักการทำงาน
-โหลด Mind Map Maker ที่ Google play
-ทำบรรจุภัณฑ์ทางเลือก
-โหลด Template maker.nil วัดขนาดตัดเป็นชิ้นส่วนของProduct
รายวิชา ARTD3302 Graphic Design on Packaging
การออกแบบกราฟิกบนบรรจุภัณฑ์
แปลสรุปข่าว
1.รองเท้าบู๊ชการใช้งานคือการป้องกันภัยจากสัตว์น้ำที่เป็นอันตราย
2.เบียร์ผลไม้แบบใหม่ผลิตที่บราซิลโดยสร้างสรรค์มาจากตัวละครของผลไม้ แนวคิดคือสถานที่+ผลไม้+หน้าตาของตัวการ์ตูนตลก
3.ผลิตภัณฑ์แซนด์วิส ออกแบบโดยสื่อกราฟิกทั้งทางตรงและทางอ้อมสามารถหยิบใช้ได้สะดวก
การสร้างแบรนด์ของกลุ่มวิสาหกิจชุมชนต้องสร้างข้อมูลสรรพคุณ ลักษณะการขาย วิธีการ ประสบการณ์และถ่ายภาพมาดำเนินการวิเคราะห์และการสร้างหลักฐานสัดส่วนโครงสร้าง,ข้อผิดพลาด
การทำ SWOT
S คือ จุดแข็ง
W คือจุดอ่อน,อุปสรรค
O คือจุดเด่นของฉลาก
T คือข้อดีของสินค้า
หาฟ้อนต์ฟรีมาปรับรูปแบบเพิ่มเติมโดยใช้รายละเอียดจากconceptต้องมีเหตุผลและโครงสร้างผลิตภัณฑ์ แปลภาษาการใช้ การให้ข้อมูลที่ตรงเพื่อเป็นโจทย์ใช้ข้อมูลในการศึกษา เริ่มสร้างผลงานในArtworkหลักการทำงาน
-โหลด Mind Map Maker ที่ Google play
-ทำบรรจุภัณฑ์ทางเลือก
-โหลด Template maker.nil วัดขนาดตัดเป็นชิ้นส่วนของProduct
สรุปผลการเรียนรู้สัปดาห์ที่4 วันที่ 8 กันยายน 2557
สรุปผลการเรียนรู้
รายวิชา ARTD3302 Graphic Design on Packaging
การออกแบบกราฟิกบนบรรจุภัณฑ์
แปลสรุปข่าว
1.การออกแบบผลิตภัณฑ์แบรนด์ CPRIME
-จุดเด่น,การใช้วัสดุ
-การนำมาใช้
-การใช้สี,ลักษณะ
-ผลิตภัณฑ์อะไรเกี่ยวกับแบรนด์
-การจัดวางสินค้า,รูปแบบ
-เนื้อหาต้องมีหลักการตามวิชาการ
2.การออกแบบบรรจุภัณฑ์อาหารเพื่อสุขภาพ Natural Delivery ตัวอักษรเป็นรูปกราฟิกใบไม้ เน้นการเสริฟ ใช้พฤติกรรมคืออาหาร1มื้อนำส่งไปถึงผู้บริโภคโดยตรง มีการกำหนดอาหาร,สัดส่วน,น้ำหนัก,การออกแบบบรรจุภัณฑ์ไม่สัมผัสกับอาหาร การใช้งานที่ต้องใช้อาหารเป็นเซต ใช้เทคนิคล็อกตัวบรรจุภัณฑ์ด้านในบอกสูตรแกลเลอรี่และประโยชน์ด้านใน
3.การออกแบบบรรจุภัณฑ์ของPasta ใช้คนเป็นแบบแฟนซี เปลี่ยนไปตามชนิดของPasta และการออกแบบบรรจุภัณฑ์น้ำหอมเซนต์คือความเรียบง่ายทำให้นึกถึงแนวญี่ปุ่น
การทำMindmapsดูการออกแบบพัฒนาบรรจุภัณฑ์
-ทำการสำรวจตลาดตลอดการเดินทางเพื่อหาจุดขาย
-ถ่ายรูปเก็บข้อมูลเพือหาข้อมูลเปรียบเทียบ
*งานที่ต้องทำ*
-ทำการบ้านใน Claroline thai.info ของกลุ่ม101 สรุปกิจกรรม เขียนตอบกระทู้ข้อ1-4
-ตัดกระดาษโพสเตอร์สีกับกระดาษอังกฤกษ(กระดาษฟอยร์)ขนาดไม่ต่ำกว่า5x5นิ้วอย่างน้อย4แผ่นและทำขนาดสติ๊กเกอร์ขนาดบรรจุ1กิโลกรัม
รายวิชา ARTD3302 Graphic Design on Packaging
การออกแบบกราฟิกบนบรรจุภัณฑ์
แปลสรุปข่าว
1.การออกแบบผลิตภัณฑ์แบรนด์ CPRIME
-จุดเด่น,การใช้วัสดุ
-การนำมาใช้
-การใช้สี,ลักษณะ
-ผลิตภัณฑ์อะไรเกี่ยวกับแบรนด์
-การจัดวางสินค้า,รูปแบบ
-เนื้อหาต้องมีหลักการตามวิชาการ
2.การออกแบบบรรจุภัณฑ์อาหารเพื่อสุขภาพ Natural Delivery ตัวอักษรเป็นรูปกราฟิกใบไม้ เน้นการเสริฟ ใช้พฤติกรรมคืออาหาร1มื้อนำส่งไปถึงผู้บริโภคโดยตรง มีการกำหนดอาหาร,สัดส่วน,น้ำหนัก,การออกแบบบรรจุภัณฑ์ไม่สัมผัสกับอาหาร การใช้งานที่ต้องใช้อาหารเป็นเซต ใช้เทคนิคล็อกตัวบรรจุภัณฑ์ด้านในบอกสูตรแกลเลอรี่และประโยชน์ด้านใน
3.การออกแบบบรรจุภัณฑ์ของPasta ใช้คนเป็นแบบแฟนซี เปลี่ยนไปตามชนิดของPasta และการออกแบบบรรจุภัณฑ์น้ำหอมเซนต์คือความเรียบง่ายทำให้นึกถึงแนวญี่ปุ่น
การทำMindmapsดูการออกแบบพัฒนาบรรจุภัณฑ์
-ทำการสำรวจตลาดตลอดการเดินทางเพื่อหาจุดขาย
-ถ่ายรูปเก็บข้อมูลเพือหาข้อมูลเปรียบเทียบ
*งานที่ต้องทำ*
-ทำการบ้านใน Claroline thai.info ของกลุ่ม101 สรุปกิจกรรม เขียนตอบกระทู้ข้อ1-4
-ตัดกระดาษโพสเตอร์สีกับกระดาษอังกฤกษ(กระดาษฟอยร์)ขนาดไม่ต่ำกว่า5x5นิ้วอย่างน้อย4แผ่นและทำขนาดสติ๊กเกอร์ขนาดบรรจุ1กิโลกรัม
สรุปผลการเรียนรู้สัปดาห์ที่3 วันที่ 1 กันยายน 2557
สรุปผลการเรียนรู้
รายวิชา ARTD3302 Graphic Design on Packaging
การออกแบบกราฟิกบนบรรจุภัณฑ์
แปลสรุปข่าวครั้งละ3คน
การจัดบลอคต้องเป็นชื่อของ product อธิบายการออกแบบ รูปลักษณ์ หรือแม้กระทั่งความรู้เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ ตัวการออกแบบผลิตภัณฑ์ต้องมีการจัดเรียงไม่ว่าจะเป็นขนาด ตำแหน่ง การใช้งานของผลิตภัณฑ์ แนวทาง สไตล์ ความรู้สึก ผลิตภัณฑ์ที่นำเสนอคือ
1. การออกแบบบรรจุภัณฑ์หมากฝรั่ง Trident ที่ออกแบบเป็นรูปปากในลักษณะต่างๆเพื่อสื่อถึงอารมณ์ที่หลากหลาย
2.สินค้า jail bran ของอินเดีย ออกแบบตังอักษรเป็นแบบอินเดีย ใช้ส่วนประกอบของถั่วมาใช้เป็นสัญลักษณ์ และใช้เป็นสีหลักคือสีเหลืองมาขายความเป็นธรรมชาติ
3.สินค้า HOMER รูปแบบเป็นสินค้าที่เกิดขึ้นในปัจจุบันมากมาย ส่วนใหญ่จะคิดควบคู่ไปกับชนิด และประเภท การตลาด หรือการสร้างเสริมผลิตภัณฑ์มีการสร้างที่มาของตัวผลิตภัณฑ์
ทำไฟล์ที่อาจารย์ส่งสร้างโฟล์เดอร์รายงานเป็นของแต่ละคน ภาพประกอบโดยเปลี่ยนชื่อภาพ ใส่ในเวปซ์ PicasaของGoogle ใช้เก็บภาพหรือใช้Google+ เข้าไปกดArtchanderเพื่อเป็นซิงค์กับอาจารย์ ภาพแต่ละภาพควรใส่ลายน้ำคือคำบรรยายใต้ภาพ สามารถดาวโหลดโปรแกรมไว้ใช้งานที่ Faststone.org ฟรีต้องเลือกโปรแกรมFreeware แต่ละโฟล์เดอร์ที่ส่งอาจารย์ต้องใส่ชื่อเป็นภาษาอังฤษ ปรับเพิ่มเติมเนื้อหาในบลอค
* มีเวลา 8 สัปดาห์ในการทำงาน Project พรีเซ็นต์ในสัปดาห์สุดท้ายของการเรียน การนำเสนอแต่ละครั้งต้องมีบรรจุภัณฑ์แบบเดิมมาด้วย รูปที่ลงต้องมีลายน้ำ
การทำงาน คลิ๊กcreate เลือกdrawing +create and share เปิดหน้าคลิ๊กี่หัวด้านบนเพื่อตั้งชื่อ Design Framework (ชื่อโฟล์เดอร์)เขียนหัวข้อ กรอบแนวความคิดของการศึกษา วิจัยออกแบบพัฒนาตราสัญลักษณ์วิสาหกิจชุมชน....หัวข้อถัดไปให้เขียน ส.1การสืบค้น เลือกคำส่ง Edit ก็สามารถเปลี่ยนแปลง
แก้ไขได้ สร้างกรอบแนวความคิด เสร็จแล้วใส่ลิงค์ไปยังกลุ่มตัวเอง หรือคลิ๊กขวาใส่comment
รายวิชา ARTD3302 Graphic Design on Packaging
การออกแบบกราฟิกบนบรรจุภัณฑ์
แปลสรุปข่าวครั้งละ3คน
การจัดบลอคต้องเป็นชื่อของ product อธิบายการออกแบบ รูปลักษณ์ หรือแม้กระทั่งความรู้เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ ตัวการออกแบบผลิตภัณฑ์ต้องมีการจัดเรียงไม่ว่าจะเป็นขนาด ตำแหน่ง การใช้งานของผลิตภัณฑ์ แนวทาง สไตล์ ความรู้สึก ผลิตภัณฑ์ที่นำเสนอคือ
1. การออกแบบบรรจุภัณฑ์หมากฝรั่ง Trident ที่ออกแบบเป็นรูปปากในลักษณะต่างๆเพื่อสื่อถึงอารมณ์ที่หลากหลาย
2.สินค้า jail bran ของอินเดีย ออกแบบตังอักษรเป็นแบบอินเดีย ใช้ส่วนประกอบของถั่วมาใช้เป็นสัญลักษณ์ และใช้เป็นสีหลักคือสีเหลืองมาขายความเป็นธรรมชาติ
3.สินค้า HOMER รูปแบบเป็นสินค้าที่เกิดขึ้นในปัจจุบันมากมาย ส่วนใหญ่จะคิดควบคู่ไปกับชนิด และประเภท การตลาด หรือการสร้างเสริมผลิตภัณฑ์มีการสร้างที่มาของตัวผลิตภัณฑ์
ทำไฟล์ที่อาจารย์ส่งสร้างโฟล์เดอร์รายงานเป็นของแต่ละคน ภาพประกอบโดยเปลี่ยนชื่อภาพ ใส่ในเวปซ์ PicasaของGoogle ใช้เก็บภาพหรือใช้Google+ เข้าไปกดArtchanderเพื่อเป็นซิงค์กับอาจารย์ ภาพแต่ละภาพควรใส่ลายน้ำคือคำบรรยายใต้ภาพ สามารถดาวโหลดโปรแกรมไว้ใช้งานที่ Faststone.org ฟรีต้องเลือกโปรแกรมFreeware แต่ละโฟล์เดอร์ที่ส่งอาจารย์ต้องใส่ชื่อเป็นภาษาอังฤษ ปรับเพิ่มเติมเนื้อหาในบลอค
* มีเวลา 8 สัปดาห์ในการทำงาน Project พรีเซ็นต์ในสัปดาห์สุดท้ายของการเรียน การนำเสนอแต่ละครั้งต้องมีบรรจุภัณฑ์แบบเดิมมาด้วย รูปที่ลงต้องมีลายน้ำ
การทำงาน คลิ๊กcreate เลือกdrawing +create and share เปิดหน้าคลิ๊กี่หัวด้านบนเพื่อตั้งชื่อ Design Framework (ชื่อโฟล์เดอร์)เขียนหัวข้อ กรอบแนวความคิดของการศึกษา วิจัยออกแบบพัฒนาตราสัญลักษณ์วิสาหกิจชุมชน....หัวข้อถัดไปให้เขียน ส.1การสืบค้น เลือกคำส่ง Edit ก็สามารถเปลี่ยนแปลง
แก้ไขได้ สร้างกรอบแนวความคิด เสร็จแล้วใส่ลิงค์ไปยังกลุ่มตัวเอง หรือคลิ๊กขวาใส่comment
สรุปผลการเรียนรู้สัปดาห์ที่2 วันที่ 25 สิงหาคม 2557
สรุปผลการเรียนรู้
รายวิชา ARTD3302 Graphic Design on Packaging
การออกแบบกราฟิกบนบรรจุภัณฑ์
การออกแบบบรรจุภัณฑ์ยังไม่เปลี่ยนแปลงไปมาก แต่สิ่งที่เปลี่ยนแปลงอยู่เสมอคือกราฟิก การออกแบบบรรจุภัณฑ์ต้องมี
1. การออกแบบ size
2. หัวข้อการออกแบบการออกแบบบรรจุภัณฑ์
3. การใช้งาน
4. ใส่ภาพสินค้าและรายละเอียด ทุกมุมมอง
5. บรรจุภัณฑ์มีกี่ประเภท,อะไรบ้าง
6. กาทำเวปซ์บลอคเผยแพร่สินค้า
รายละเอียดของสินค้า
1. ดูผลิตภัณฑ์และโครงสร้างโดยการใส่ข้อมูลผลิตภัณฑ์ อธิบายเป็นชิ้นๆเช่น ขนาด,น้ำหนัก,
ตราสัญลักษณ์ เป็นต้น
2. ตัวสินค้าผลิตจากวัตถุดิบ,วัสดุ,สัดส่วนความหนาบางของสินค้าโดยการทำ sketch อธิบายสินค้าอย่างละเอียด
*การบ้านให้แต่ละคน sketch แยกข้อมูลเพื่อแจกแจงรายละเอียด Case study
ศึกษารหัสบาร์โค้ด และทำแบบสอบถามก่อนการเรียน
ศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ http://arti3314.blogspot.com/
http://chainatotop.blogspot.com/
การออกแบบกราฟิกและบรรจุภัณฑ์
ความหมายการออกแบบกราฟิกและบรรจุภัณฑ์
กราฟิกดีไซน์ Graphic design คือการออกแบบรูปภาพสัญลักษณ์ที่มองเห็นด้วยตา และมีหน้าที่สื่อความหมายจากสัญลักษณ์สู่ความหมายคนส่วนใหญ่มักเข้าใจผิดว่ากราฟิกดีไซน์เป็นงานที่ทำด้วยคอมพิวเตอร์หรือเป็นการสร้างแอนิเมชันสามมิติ ซึ่งในความเป็นจริง
คอมพิวเตอร์เป็นเพียงเครื่องมือชิ้นหนึ่งที่ช่วยในการสร้างงานกราฟิกดีไซน์ได้ เช่นเดียวกับ ดินสอ ปากกา พู่กัน
กราฟิกดีไซน์ เป็นการทับศัพท์มาจากภาษาอังกฤษ graphic design คำว่า graphic มีคำในภาษาไทยที่ใช้แทนได้คือ เรขศิลป์, เลขนศิลป์ หรือ เรขภาพ ส่วน design แปลว่า การออกแบบ เมื่อรวมกันแล้ว กราฟิกดีไซน์จึงมีหมายความว่า การออกแบบเรขศิลป์ หรือ การออกแบบเลขนศิลป์
กราฟิก(Graphic)
งานกราฟิกเป็นส่วนสำคัญที่มีบทบาทยิ่งต่อการออกแบบและกระบวนการผลิตสื่อ โดยเฉพาะที่ต้องการการสัมผัสรับรู้ด้วยตา ได้แก่ หนังสือ นิตยสาร วารสาร แผ่นพับแผ่นป้ายโฆษณา บรรจุภัณฑ์ แผ่นปลิว โทรทัศน์ ภาพยนตร์ ฯลฯ
1.รูปแบบที่สร้างสรรค์
2.มีความงามที่น่าสนใจ
3.สัมพันธ์กับประโยชน์ใช้สอย
4.เหมาะสมกับวัสดุ
5.สอดคล้องกับการผลิต
คุณค่าของงานกราฟิก
1.เป็นศูนย์กลางในการสื่อความหมายให้เกิดความเข้าใจตรงกัน
2.สามารถทำหน้าที่เป็นสื่อเพื่อให้เกิดการเรียนรู้
3.ช่วยให้งานเกิดความน่าสนใจแก่ผู้พบเห็น
4.ช่วยให้เกิดการกระตุ้นทางความคิดและการตัดสินใจได้อย่างรวดเร็ว
5.ก่อให้เกิดความคิดสร้างสรรค์
การออกแบบกราฟฟิคบนบรรจุภัณฑ์
การออกแบบและการจัดวางรูปประกอบตัวอักษร ลวดลาย ถ้อยคำ เครื่องหมายหรือตราสัญลักษณ์ทางการค้า โดยใช้หลักวิชาการทางศิลปะ การจัดภาพองค์ประกอบศิลป์เพื่อให้ผลงานมีความประสานกลมกลืนกันอย่างสวยงามและสามารถบรรลุวัตถุประสงค์ที่วางไว้
1. กำหนดกลุ่มเป้าหมาย ถือเป็นเรื่องสำคัญของการออกแบบบรรจุภัณฑ์เพราะกลุ่มเป้าหมายสามารถส่งผลกระทบต่อผลิตภัณฑ์ได้
โดยตรง เช่น วัยรุ่น วัยทำงาน แม่บ้าน เด็ก
2. กำหนดชื่อตราสินค้า(Brand) ตราสินค้าใช้เป็นชื่อหรือเครื่องหมายสำหรับการเรียกขานผลิตภัณฑ์
โดยกำหนดให้ชื่อตราสินค้ามีความเป็นเอกลักษณ์ ชัดเจน น่าสนใจ ที่สำคัญจะต้องเป็นที่จดจำได้ง่ายแก่ผู้บริโภค
3. วัสดุที่ใช้ทำบรรจุภัณฑ์ วัสดุมีความจำเป็นอย่างยิ่งต่อการออกแบบบรรจุภัณฑ์ ควรคำนึงถึงความปลอดภัยของผู้บริโภค ความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อม และคุณสมบัติของวัสดุแต่ละประเภท ที่จะนำมาผลิตบรรจุภัณฑ์เป็นสำคัญ
4. รูปทรง บรรจุภัณฑ์ ที่มีรูปร่างสวยงาม สามารถสร้างความประทับใจให้กับผู้บริโภค เมื่อผู้บริโภคเห็นรูปทรงสามารถรับรู้ได้ทันทีว่าเป็นผลิตภัณฑ์อะไรและมีชื่อตราสินค้าอะไร
5. สีสันและกราฟฟิค สีสันและกราฟฟิคนี้คือการรวมของการใช้สัญลักษณ์ ตัวอักษร ภาพประกอบ ลวดลายและพื้นผิว
การออกแบบบรรจุภัณฑ์ที่ดี
การออกแบบบรรจุภัณฑ์ ให้มีความสวยงามและความแปลกตา เท่านี้คงไม่เพียงพอสำหรับบรรจุภัณฑ์ผลิตภัณฑ์อาหารเพราะหัวใจของบรรจุภัณฑ์ คือ การเก็บรักษาคุณภาพของผลิตภัณฑ์ให้คงอยู่ยืนยาว ดังนั้น การออกแบบที่ดีผู้ประกอบการควรคำนึงถึงหน้าที่ของบรรจุภัณฑ์เป็นสำคัญ ดังนี้
1. ป้องกันผลิตภัณฑ์ บรรจุภัณฑ์ที่เหมาะสมในการบรรจุอาหารจะต้องสามารถป้องกันไม่ให้อาหารสัมผัสกับบรรยากาศภายนอก ซึ่งอาจจะเกิดการรั่ว การซึม แสง ความร้อนเย็น
2. เก็บรักษาคุณภาพของผลิตภัณฑ์ บรรจุภัณฑ์ที่ต้องสามารถรักษาคุณภาพของผลิตภัณฑ์มิให้เปลี่ยนแปลงไป ไม่ว่าจะเป็นกลิ่นหรือรสชาติ
3. ยืดอายุผลิตภัณฑ์ จะต้องสามารถนำเทคโนโลยีที่สลับซับซ้อนมาช่วยในการออกแบบ เพื่อให้บรรจุภัณฑ์ สามารถยืดอายุการเก็บรักษาผลิตภัณฑ์ให้มีอายุยืนยาว
4. ความสะดวกในการใช้งาน
หลักการออกแบบบรรจุบรรจุภัณฑ์ ประกอบด้วยการออกแบบที่สำคัญ 2 ส่วนคือ
1. การออกแบบโครงสร้าง – เน้นคุณสมบัติของวัสดุใช้ทำบรรจุภัณฑ์และรูปแบบบรรจุภัณฑ์
2. การออกแบบกราฟิก – เน้นการสื่อความหมายด้วยภาพวาดสัญลักษณ์ต่างๆ ที่ช่วยส่งเสริมการขาย
ขอบคุณแหล่งข้อมูลจาก http://netra.lpru.ac.th/~weta/m4/m4_print.html
http://sanya-indy.com/packaging-design/
นิตยสาร wallpaper ประจำเดือนสิงหาคม 2014
สรุปผลการเรียนรู้สัปดาห์ที่1 วันที่ 18 สิงหาคม 2557
สรุปผลการเรียนรู้
รายวิชา ARTD3302 Graphic Design on Packaging
การออกแบบกราฟิกบนบรรจุภัณฑ์
ผลการเรียนรู้ที่ได้คือการเรียนเกี่ยวกับการออกแบบตราสินค้าและผลิตภัณฑ์ ซึ่งนักศึกษาต้องหาความหมายการออกแบบกราฟิกและบรรจุภัณฑ์ โดยเขียนสรุป มีการอ้างอิงที่ถูกต้องจาก 3แหล่ง ถ้าค้นจากหนังสือต้องถ่ายรูปหน้าปก หน้ารองปก และสารบัญ
เรียนรู้การออกแบบบรรจุภัณฑ์สินค้าOTOPของจังหวัดชัยนาท ซึ่งเป็นผลงานการวิจัยของ
ผศ.ประชิด ทิณบุตร และทำแบบสอบถามในเวปไซด์
งานกลุ่ม แบ่งกลุ่ม 5-6คนทำการออกแบบบรรจุภัณฑ์สินค้าOTOP ของจังหวัดชัยนาท กลุ่มละ1อำเภอคนละ1อย่างโดยเป็นสินค้าเพื่อสุขภาพและความงาม และหาของแบรนด์เนมเพื่อทำการศึกษาด้วย
ศึกษาและติดตามเวปไซด์ The Die line เพื่อหาข้อมูลมาสรุปรายงานหน้าชั้นเรียนครั้งละ3คน
งานแปลสรุุปที่เวปไซด์ pinterest และสร้างบอร์ดของตัวเองใน pinterest
การสืบค้นข้อมูลโดยพิมพ์ ออกแบบกราฟิกสำหรับบรรจุภัณฑ์และpackagingesigncourse
หรือเข้าเวปไวซด์ http://chainatotop.blogspot.com/
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)